สล็อตแตกง่าย จากที่มีข่าวว่า การลงทะเบียน Thailand Pass สำหรับการเดินทางเข้าประเทศนั้น มีการเสีย ค่าธรรมเนียม ด้วย ซึ่งข่าวดังกล่าวนั้น ไม่จริงแต่อย่างใด Thailand Pass ค่าธรรมเนียม – (22 พ.ค. 2565) ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านโซเชียลมีเดียเกี่ยวกับประเด็นลงทะเบียนเว็บไซต์ Thailand Pass มีค่าธรรมเนียม สำหรับการเดินทางเข้าประเทศ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สพร. สำนักนายกรัฐมนตรี พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
จากกรณีที่มีข้อความบนโซเชียลมีเดียระบุว่า ลงทะเบียนเว็บไซต์ Thailand Pass มีค่าธรรมเนียม สำหรับการเดินทางเข้าประเทศ
ทางสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สพร. สำนักนายกรัฐมนตรี ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เกิดจากผู้ไม่หวังดีสร้างความสับสนให้กับผู้ลงทะเบียน และอาจทำให้ผู้ลงทะเบียนท่านอื่น ๆ เข้าใจผิดว่าการลงทะเบียน Thailand Pass มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมด้วย ทั้งนี้ ศูนย์ข้อมูล COVID 19 ได้ให้ความอนุเคราะห์ช่วยดำเนินการประชาสัมพันธ์ภายในประเทศให้ประชาชนชาวไทยได้รับทราบแล้ว หากเป็นไปได้จะขอความอนุเคราะห์ในการช่วยประชาสัมพันธ์ให้ชาวต่างชาติได้รับทราบด้วย เนื่องจากจากสถิติการลงทะเบียนที่ผ่านมาพบว่าส่วนใหญ่ประมาณ 80% เป็นชาวต่างชาติ ดังนั้น ควรเพิ่มช่องทาง และรูปแบบการประชาสัมพันธ์ที่สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องกับผู้เดินทางที่เป็นชาวต่างชาติเพิ่มมากขึ้น โดยควรเป็นไปในทิศทาง ที่ให้ผู้เดินทางมีความเข้าใจที่ถูกต้อง และชัดเจนว่าการลงทะเบียน Thailand Pass ไม่มีค่าใช้จ่ายแต่อย่างใดแต่หากผู้เดินทาง ประสงค์จะใช้บริการผ่านตัวแทนที่เป็นบริษัท Agency ที่มีการเรียกเก็บค่าบริการ และเต็มใจที่จะเสียค่าธรรมเนียมจากการใช้บริการที่เกิดขึ้น ควรเข้าใจว่ามิได้เกี่ยวข้องกับหน่วยงานภาครัฐแต่อย่างใด
ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สพร. สำนักนายกรัฐมนตรี สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.dga.or.th/ หรือโทร 02- 612 6060
บทสรุปของเรื่องนี้คือ : การลงทะเบียน Thailand Pass ไม่มีค่าใช้จ่ายแต่อย่างใดแต่หากผู้เดินทาง ประสงค์จะใช้บริการผ่านตัวแทนที่เป็นบริษัท Agency ที่มีการเรียกเก็บค่าบริการ และเต็มใจที่จะเสียค่าธรรมเนียมจากการใช้บริการที่เกิดขึ้น
ส่วนประโยชน์ที่จะได้รับประกอบด้วย ประชาชนในชุมชนได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน, ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวถูกต้องในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากการติดเชื้อโควิด-19 , ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกัน หรือแยกตัวเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการดูแลที่ถูกต้องจากอสม. ลดการแพร่กระจายของเชื้อไปสู่ผู้อื่น และสร้างขวัญและกำลังใจให้กับอสม.ในการปฏิบัติหน้าที่ ตลอดจนเป็นแรงจูงใจที่สามารถผลักดันให้เกิดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ทำให้เกิดสุขภาวะที่ดีกับประชาชน
บิดเบือน! นั่งหลังค่อม บ่อย ๆ มีความเสี่ยงเป็นหลังค่อมถาวร
จากการเผยแพร่ของข้อมูลที่ว่า การ นั่งหลังค่อม เป็นประจำนั้น เสี่ยงหลังค่อมถาวร มีสาเหตุมาจากพฤติกรรม และจะส่งผลต่อกระดูกสันหลังเสื่อมและพันธุกรรม นั้น เป็นการบิดเบือนข้อมูล
(23 พ.ค. 2565) ตามที่มีข้อมูลในสังคมออนไลน์เกี่ยวกับประเด็นเรื่องนั่งหลังค่อมบ่อย ๆ เสี่ยงหลังค่อมถาวร มีสาเหตุมาจากพฤติกรรม กระดูกสันหลังเสื่อมและพันธุกรรม ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลบิดเบือน
จากกรณีที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับสุขภาพโดยระบุว่า นั่งหลังค่อมบ่อย ๆ ระวังจะเป็นหลังค่อมถาวร สาเหตุมาจากพฤติกรรมหรืออิริยาบถที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม รวมถึงความเสื่อมของกระดูกสันหลังตามอายุที่มากขึ้น และมาจากลักษณะทางพันธุกรรมได้อีกด้วย ทางกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า การนั่งหลังค่อมบ่อย ๆ ไม่ทำให้เกิดหลังค่อมถาวร แต่อาจจะทำให้อาการปวดล้ากล้ามเนื้อและส่งผลให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังตามมาได้ ซึ่งในผู้ป่วยที่มีภาวะกระดูกสันหลังเสื่อมอยู่แล้ว การนั่งหลังค่อมเป็นเวลานานจะให้เกิดอาการปวดกำเริบได้จึงควรหลีกเลี่ยง นอกจากนี้โรคหลังค่อมถาวร พบได้หลายสาเหตุในเด็ก โดยอาจพบตั้งแต่กำเนิดจากโรคพันธุกรรม สำหรับโรคติดเชื้อที่มีการทำลายกระดูกเช่น วัณโรคกระดูกสันหลัง, ภาวะกระดูกหักจากอุบัติเหตุ หรือ โรคกระดูกสันหลังอักเสบเรื้อรัง เช่น ankylosing spondylitis ในผู้สูงอายุที่ภาวะโรคกระดูกพรุนที่มีการทรุดตัวของกระดูกสันหลังก็เกิดภาวะหลังค่อมได้
ดังนั้นข้อมูลที่มีการโพสต์ และแชร์ต่อในขณะนี้ จึงเป็นข้อมูลบิดเบือน ขอความร่วมมือประชาชน ไม่แชร์ ไม่ส่งต่อข่าวดังกล่าว เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
สามารถติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.dms.go.th หรือโทร 02 5906000
บทสรุปของเรื่องนี้คือ : การนั่งหลังค่อมบ่อย ๆ ไม่ทำให้เกิดหลังค่อมถาวร แต่อาจจะทำให้อาการปวดล้ากล้ามเนื้อและส่งผลให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังตามมาได้ ซึ่งโรคหลังค่อมถาวร พบได้หลายสาเหตุในเด็ก โดยอาจเกิดจากโรคพันธุกรรม หรือในผู้สูงอายุที่ภาวะโรคกระดูกพรุนที่มีการทรุดตัวของกระดูกสันหลัง สล็อตแตกง่าย